วันจันทร์ที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2557

แนวทางปฏิรูปประเทศไทย 3 ด้าน 9 ประเด็น

ปฏิรูปประเทศไทย

1. ปฏิรูปประเทศไทย และ ปฏิรูปการเมือง การปกครอง และ ธรรมาภิบาล

  • ปฏิรูปทางด้านการเมือง
  • ปฏิรูประบบราชการและกระจายอำนาจ
  • ปฏิรูประบบยุติธรรม
  • ปฏิรูประบบตราจสอบอันเข้มข้นจากภาคประชาชน เพื่อต่อต้านคอรัปชั่น การฉ้อราษฏร์บังหลวง
  • ปฏิรูปสื่อสารมวลชน
2.ปฏิรูปสวัสดิการสังคมและการศึกษา
  • ปฏิรูประบบสวัสดิการเพื่อคุณภาพฃีวิตที่ดีอย่างทั่วถึงโดยคำนึงถึงศักดิ์ครีความเป็นมนุษ (Human Digity) และความมั่นคง (Human Security)
  • ปฏิรูปดานการศึกษาเพื่อให้ทุกคนได้มีโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพมากขึ้นอย่าเท่าเทียบกัน
3.ปฏิรูปเศรษฐกิจ ลดความเหลื่อมล้ำ มีหารแข่งขันที่เป็นธรรม
  • ปฏิรูปประเทศไทย โครงสร้างเศรษฐกิจ และสังคม เพื่อลดความเสี่ยงทางรายได้และโอกาศ ให้คนไทยหลุดพ้นจากความยากจน บนพื้นฐาน เศรษฐกิจ ที่ยั่งยืน
  • เศรษฐกิจ ที่มีการแข่งขันอย่างโปร่งใส เป็นธรรม เพื่อคุ่มครองผู้บริโภค
แนวทางปฏิรูปประเทศไทย 3 ด้าน 9 ประเด็น
1.ปฏิรูปทางด้านการเมือง การปกครอง และ ธรรมาภิบาล
  • ปฏิรูปทางการเมือง
  • ปฏิรูประบบราชการและกระจายอำนาจ
  • ปฏิรูประบบยุติธรรม
  • ปฏิรูประบบตราจสอบอันเข้มข้นจากภาคประชาชน เพื่อต่อต้านคอรัปชั่น การฉ้อราษฏร์บังหลวง
  • ปฏิรูปสื่อสารมวลชน
1.1 ปฏิรูประบบยุติธรรม
  1. สิทธิการเข้าถึงระบบกระบวลการยุติธรรมอย่างทั่วถึงมีการบังคับการใช้กฏหมายอย่างเท่าเทียม
  • พิจรณาคดีในรูปแบบคณะอัยการสำหรับคดีสำคัญ
  • มีตัวแทนภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในระบบอัยการ
  • ในคดีสำคัญของตำราจอัยการร่วมในการสืบสวน หาพยานและหลักฐาน
1.2 ปฏิรูปทางการเมือง
  • อำนาจทางการเมืองที่ได้จากประชาชนต้องยึดหลัก กฏหมาย กฎกติกา และค่า ความนิยม โดยคำนึงถึงความถูกต้อง หลักนิติธรรม ด้วย
  • สร้างเาริมกลไกในการตรวจสอบถ่วงอำนาจฝ่ายต่างๆ 
  • กำหนดให้มีกระบวนการมีส่วนร่ามของประชาชน
1.3 ปฏิรูประบบราชการและกระจายอำนาจ
  • ระบบราชการต้องปลดจากการเมือง
  • มีการบริหารจัดการจิจการภายในองค์การของตนเองโดยใช้ กฏหมายเฉพาะ
  • ประชาชนและภาคประชาสังคม มีส่วนร่วมในการกำหนด นโยบายของชุมชนและองค์การปกครองท้องถิ่น
  • เลือกตั้งผู้ว่าการจังหวัดทุกจังหวัด
  • ยกเลิกการปกครองส่วนภูมิภาค กระจายอำนาจ ราชการสู่ท้องถิ่น
  • จักสรรงบประมาณให้กับท้องถิ่นไม่น้อบกว่า 35%
  • การกระจายอำนาจคืนวาระแห่งชาติของทุกรัฐบาล
  • ตำรวจสังกัดท้องถื่น อยู่ภายใต้ผู้ว่าราชการจังหวัด
  • ปฏิรูประบบราชการ
  • ขจัดแทรงแซงของภาคการเมือง
  • มีการจัดตั้งสภาประชาชนในทุกจังหวัด
  • เป็นภาคีกับองค์กรระหว่างประเทศเพื่อต่อต้านคอรัปชั่น
1.4 ปฏิรูประบบตราจสอบอันเข้มข้นจากภาคประชาชน เพื่อต่อต้านคอรัปชั่น การฉ้อราษฏร์บังหลวง
  • มีองค์กรตรวจสอบประชาชนสามารถฟ้องร้องดำเนินคดีได้
  • กำหนดให้มีโทษที่ชัดเจน มีกระบวนการทางกฏหมายที่รักฃดกุม
  • คดีคอรัปชั่นไม่มีหมดอายุความ
1.5 ปฏิรูปสื่อสารมวลชน
  • สื่อสารมวลชนทุกแขนงต้องนำเสนอข่าวที่เท่าเทียมให้กับทุกภาคส่วน
  • กำหนดมาตรฐานจริยธรรมของสื่อ มีองค์กรวิชาชีพเป็นเครื่องมือในการควบคุมจริยธรรมและจรรยาบรรณของสื่อสารมวลชน





ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น